ภาษาท่า
ภาษาท่า
ภาษาท่า คือ ท่าทางที่ใช้สื่อความหมายแทนการพูดในการแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ เช่น โขน ละคร
โดยเลียนแบบมาจากท่าทางตามธรรมชาติของมนุษย์ และมาจากท่ารำในเพลงแม่บท
ความหมาย |
วิธีปฏิบัติ |
1. ตัวเรา 2. ตัวท่าน 3. พวกท่าน 4. ยิ้ม/ พอใจ 5. สวย / ดีเลิศ 6. อาย 7. รัก 8. เศร้า 9. โกรธ 10. ไป 11. มา / เรียก 12. ปฏิเสธ 13. ชั่วร้าย / ไม่ดี 14. ตาย / สูญเสีย 15. ต่อสู้ |
จีบมือซ้ายเข้าหาตัว แบมือตะแคงระดับศีรษะ / ชี้นิ้วชี้ตะแคงระดับเอว คว่ำนิ้วชี้แล้วหงายข้อมือขึ้น ชี้นิ้วชี้ไปด้านข้าง จีบคว่ำระดับปาก มือข้างหนึ่งตั้งวงหน้า อีกข้างทำท่าพรหมสี่หน้า แบมือแนบข้างแก้ม สองมือแบไขว้ทาบฐานไหล่ สองมือแบไขว้ทาบหน้าตัก แบมือถูข้างหลังใบหู จีบปรกแล้วคลายออกเป็นตั้งวงบน แบมือคว่ำระดับหน้าแล้วปาดเข้าหาตัว ตั้งวงล่างแล้วสั่นมือ ตั้งข้อมือชี้นิ้วชี้แล้วตวัดเข้า คว่ำมือทั้งสองแล้วหงายมือ มือข้างหนึ่งตั้งวงล่าง อีกข้างจีบหงายแขนตึง |
ตัวอย่างวิธีปฏิบัติภาษาท่า
ภาพที่ 1 ท่าตัวเรา
ภาพที่ 2 ท่าตัวท่าน (ระดับสูง)
ภาพที่ 3 ท่ารัก
ภาพที่ 4 ท่ายิ้ม ดีใจ พอใจ
ภาพที่ 5 ท่ามา เรียก
ภาพที่ 6 ท่าสวยงาม (ท่าเฉิดฉิน ในเพลง แม่บท)
ภาพที่ 7 ท่าแรกรุ่น (ในเพลง ฉุยฉายพราหมณ์)
ที่มา : พจนา บัวกระสินธุ์
ผู้แสดง : บุษรา พวงสมบัติ และ วรรษกร วงษ์จันทร์ดี