ประวัติวรรณคดี

นับแต่สมัยสุโขทัยมาจนถึงราชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วรรณคดีไทยมีลักษณะเป็นแบบฉบับที่ยึดถือสืบต่อกันมา ในรัชกาลที่ ๔ คนไทยเริ่มมีความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก วิถีชีวิตจึงเปลี่ยนไปรวมถึงลักษณะของวรรณคดีของคนไทย เริ่มค้นเปลี่ยนแลงและทวีมากขึ้นเป็นลำดับต   

         วรรณคดีไทยและประวัติวรรณคดีไทย 

          วรรณคดี แปลว่าเรื่องที่แต่งเป็นหนังสือ มีความหมายตรงกันคำว่า Literature ในภาษาอังกฤษ แต่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้คำจำกัดความของวรรณคดีว่า หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี ปรากฏครั้งแรกในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว

          วรรณคดีไทยแบ่งสมัยการแต่งได้ดังนี้

         ๑ . วรรณคดีสมัยสุโขทัย ( พ.ศ. ๑๘๐๐ - ๑๙๒๐ )
         ๒ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น ( พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๐๗๒ )
         ๓ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง ( ยุคทองของวรรณคดี พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๒๓๑๔) 
         ๔ . วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ. ๒๒๙๕ - ๒๓๑๐๕ ) 
         ๕ . วรรณคดีสมัยธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕๖ ) 
         ๖ . วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ ( พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน ) 

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

ติชม


ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

สร้างโดย :


oranut08

สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
ภาษาไทย